อาหารที่ห้ามกินสำหรับคุณแม่ลูกอ่อน
อัพเดทล่าสุด: 18 ส.ค. 2024
443 ผู้เข้าชม
-อาหารทะเล กุ้ง ปลาทะเล
-อาหารกึ่งดิบกึ่งสุก อาหารค้างคืน แหนม ปลาร้า ลาบเลือด
-ผลไม้รส้ปรี้ยวบางชนิด เช่น ราสเบอรลี่
-ธัญพิชบางชนิดที่มีแก๊สในท้อง
-คาเฟอีน
-นมวัว
--ผักและผลไม้ที่ทำให้แก๊สในกะเพาะ กะหล่ำ บร๊อคโคลี่ หน่อไม้ฝรั่ง กล้วย ลูกพรุน
-อาการหมักดอง
-อาหารรสจัดหรือ
-อาหารที่มีกลิ่นแรง สะตอ กะทิน
-เครื่องดื่มแอลกอฮอลล์ เหล้า เบียร์
บทความที่เกี่ยวข้อง
อยู่ไฟ เป็นกระบวนการดูแลคุณแม่หลังคลอดเพื่อฟื้นฟูสุขภาพคุณแม่ให้สดชื่นแข็งแรง ช่วยกระตุ้นการไหลเวียนโลหิตให้ดีขึ้น ลดภาวะความรู้สึกเดี๋ยวร้อนเดี๋ยวหนาว เพลียอ่อนล้า และบรรเทาอาการ เมื่อยล้าของกล้ามเนื้อที่ต้องอุ้มท้องมานาน 9 เดือน
18 ส.ค. 2024
คุณแม่หลังการคลอดบุตร จะทำให้ร่างกายมีการขยายตัว น้ำหนักเพิ่มขึ้น มีหน้าท้องที่ขยายขึ้น การไหลเวียนของโลหิตไม่สะดวก อุณหภูมิของร่างกายไม่คงที่ ทำให้เกิดอาการร้อนหนาววูบวาบ (ที่เรียกว่า สะบัดร้อนสะบัดหนาว) โดยเฉพาะมดลูกที่มีการขับเคลื่อนหลังคลอด จะมีภาวะบอบช้ำมากและ มดลูกยังไม่เข้าอู่ อีกทั้งร่างกายเกิดอาการปวดเมื่อย โดยเฉพาะบริเวณที่ต้องแบกรับน้ำหนักมาก จากการอุ้มท้อง เช่น หลัง น่อง ขาและเขา เป็นต้น
18 ส.ค. 2024
หลังคลอดแล้วกี่วันถึงจะทำอยู่ไฟได้ เนื่องจากร่างกายของคุณแม่จะมีการเสียเลือดและน้ำจากการคลอดไปมาก สำหรับคุณแม่ที่คลอดธรรมชาติ สามารถเริ่มอยู่ไฟหลังจากคลอดแล้ว 7 วัน ผ่าคลอด 30-40 วัน
18 ส.ค. 2024